4.วิธีการใช้งานกล้องวัดมุม
หลักการปรับตั้งฟองกลอมและฟองยาวเพื่อให้ได้ระดับก่อนการใช้งาน
การปรับระดับฟองยาว หมุนสกรู
A และ B ไปในทิศทางตรงกันข้ามกัน เพื่อให้ฟองกลมของอากาศ
เลื่อนตําแหน่งมาตั้งฉากกับแนวสกรู A กับ B จากนั้นให้ปรับหมุนสกรู C เลื่อนฟองกลมเข้ามาอยู่ตรงกลางของหลอดระดับฟองกลม
การปรับระดับฟองยาวของกล้อง
หมุนกล้องในแนวราบ
โดยให้หลอดระดับฟองยาวอยู่ในแนวเดียวกับแนวของสกรู A และ B ปรับสกรู A และ B ในทิศทางตรงกันข้าม
เพื่อเลื่อนฟองอากาศให้มาอยู่กึ่งกลางของหลอดระดับ
1. เล็งกล้องไปยังตําแหน่งท้องฟ้า
แล้วทําการปรับสายใยกล้องให้คมชัด
เสียก่อน โดยใช้ ปุ่มปรับ FOCUS สายใยกล้อง
2. เล็งกล้องไปยังเป้าหมาย
( A ) โดยใช้เป้าเล็งประมาณที่อยู่บนลํากล้อง
จากนั้นจึงทํา
การปรับความคมชัดของภาพ โดยใช้ปุ่มปรับ FOCUS ภาพ
3.การปรับสายใยและความคมชัดภาพของตัวกล้องควรปรับสายใยและความคมชัดของภาพ
ให้มีความสัมพันธ์กัน โดยให้ภาพที่เป้ามี ความคมชัดพร้อมทั้งสายใย
การคํานวณระยะทาง
โดยวิธี STADIAด้วยกล้องวัดมุมกล้องรุ่นนี้สามารถนํามาใช้กับการสํารวจ
Stadia ซึ่งใช้งานง่ายและสะดวก
การวัด
ระยะทาง
โดยวิธี Stadia จะทํางานร่วมกับ
Qratuated Rod เช่น
Leveling Rod หรือ
Stadia Rod ( เหมาะสําหรับการวัดระยะไกล
)การวัดระยะจากศูนย์กลางของกล้อง ถึง Rod โดยการมองผ่านกล้องไปยัง Rod และอีกหลายๆจุดของระยะห่างทางราบ หรือ การอ่าน ( I
. C . ระยะห่างระหว่างพื้นที่ที่ปรากฏของ
Bottom and top stadia hairs บน Rod )คูณ
100 
การตรวจสอบและการปรับแก้ Collimation ของเครื่องมือ
การตรวจสอบ 1. ตั้งกล้องบนพื้นราบ
และเล็งไปที่เป้าหมาย A โดยให้เป้าหมาย A อยู่ห่างจาก กล้องประมาณ 50 – 60 เมตร 2. คลายล็อคทางดิ่ง
หมุนกล้องไป 180 องศา
รอบแกนราบกล้อง
ซึ่งจะอยู่ในทิศทาง ตรงกันข้าม 3. เล็งกล้องไปที่จุด
B โดยใช้ระยะห่างเท่ากับจุด
A แล้วทําตําแหน่งไว้ 4. คลายล็อคทางราบ
และหมุนกล้องไป 180 องศา
รอบแนวดิ่ง และเล็งไปที่จุด A 5. คลายล็อคทางดิ่งและหมุนกล้องไป
180 องศา
รอบแกนราบอีกครั้ง
และเล็งไปที่ จุด C ให้ทับลงจุด
B
6. ถ้าจุด
B และ
C ไม่ทับกัน
จะต้องทําการปรับแก้
|